รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร






รายละเอียดโครงการ


รหัสโครงการ : 67-5200-2-4-008-00
ชื่อโครงการ : โครงการพัฒนาหน่วยวิจัยและนวัตกรรม
ผู้รับผิดชอบ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คุณานนต์ ศักดิ์กำปัง
จำนวนงบประมาณ : 100,000 บาท
ระยะเวลาตามแผน : 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
วันที่ดำเนินการจริง : 27 เมษายน 2567
สถานะการดำเนินงาน :
-รายงานผลแล้ว-
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด :
รายละเอียดตัวชี้วัด แผน ผล หน่วยวัด สรุปผล
ผลผลิต (Output) : เกิดหน่วยวิจัยมีแผนงาน ทีม ชัดเจน อย่างน้อยครบตามจุดเน้นมหาวิทยาลัยฯ (Cluster) จำนวนไม่น้อยกว่า 5 6 หน่วย
ผ่าน
ผลลัพธ์ (Outcome) : เกิดกิจกรรม แผนงานที่ชัดเจน ในหน่วยวิจัย อย่างน้อยหน่วยละ 1 1 กิจกรรม
ผ่าน
ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการโครงการ
ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนครั้งที่ดำเนินการ 1 2 ครั้ง
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 50 52 คน
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 85 93 ร้อยละ
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 85 42 ร้อยละ
ไม่ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 5 ค่าใช้จ่ายตลอดโครงการไม่เกิน 100,000 100,000 บาท
ผ่าน
ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ :

:  เบิกจ่ายแล้ว  0.00 บาท / คงเหลือ 100,000.00 บาท / คิดเป็นร้อยละเบิกจ่าย 0.00%

ร้อยละความสำเร็จตามตัวชี้วัด : 71.4286%   :   ดาวน์โหลด Certificate

หลักฐาน : https://www.facebook.com/profile/100063766711558/search/?q=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ :
ยุทธศาสตร์หลัก ตัวชี้วัดทั้งหมด Cluster Sub-Cluster
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับการทำงานวิจัย สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์ 1. ร้อยละของจำนวนเงินรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการวิจัย และ บริการวิชาการ
(strategy)
2. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในฐาน Scopus Q1 & Q2
(strategy)
3. Citations รวม
(strategy)
4. H-Index รวม ของนักวิจัย 20 อันดับแรก
(strategy)
5. จำนวนนักวิจัยในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ (Google scholar, Scopus)
(strategy)
6. Research income from industry and other (domestic or international)
(strategy)
7. Research co-funding from PMUs & Community ร่วมทุน PMU จาก วช. สกอ. ววน.
(strategy)
8. Research Funding
(strategy)
9. เกิดหน่วยวิจัยมีแผนงาน ทีม ชัดเจน อย่างน้อยครบตามจุดเน้นมหาวิทยาลัยฯ (Cluster) จำนวนไม่น้อยกว่า
(สำคัญ)
10. เกิดกิจกรรม แผนงานที่ชัดเจน ในหน่วยวิจัย อย่างน้อยหน่วยละ
(สำคัญ)
Agriculture Technology เกษตรอินทรีย์
อธิบายผลการดำเนินงาน : จดหมายข่าว คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มทร.อีสาน วิทยาเขตสนคร จัดการอบรมเสริมสร้างหน่วยวิจัยและนวัตกรรม คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี วันที่ 25 - 26 เมษายน 2567 คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร จัดโครงการพัฒนาหน่วยวิจัยและนวัตกรรม กิจกรรมที่ 1 การอบรมเพื่อเสริมสร้างหน่วยวิจัยและนวัตกรรม คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ณ ห้อง 12201 ชั้น 2 อาคารเรียนรวม มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิจัยได้แลกเปลี่ยนความรู้ด้านงานวิจัย สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำวิจัย เกิดการถ่ายทอดและนำเสนอผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.พานิช อินต๊ะ หัวหน้าหน่วยวิจัยสนามไฟฟ้าประยุกต์ในงานวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นวิทยากร ในการนี้ ผศ.ดร.สุริยา แก้วอาษา คณบดีคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ และในส่วนกิจกรรมที่ 2 อบรมบ่มเพาะความรู้เพื่อจัดตั้งหน่วยวิจัย นวัตกรรมและ จัดทำแผนการดำเนินงานในหน่วยวิจัย คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ในวันที่ 27 – 28 เมษายน 2567 ณ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
ปัญหาอุปสรรค : -
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการพัฒนาเพิ่มหน่วยวิจัย ในทุกๆๆ ปี เพื่อตอบโจทย์สังคมต่อไป
ภาพจดหมายข่าว :


(...........................................................)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คุณานนต์ ศักดิ์กำปัง
ผู้รับผิดชอบโครงการ



ข้อมูล ณ 21 พฤศจิกายน 2567
แผนกงานแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร