รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร






รายละเอียดโครงการ


รหัสโครงการ : 66-5200-2-2-001-00
ชื่อโครงการ : โครงการ StartUp FIT League 2023
ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ ดร.หทัยรัตน์ หอมไกรลาศ
จำนวนงบประมาณ : 150,000 บาท
ระยะเวลาตามแผน : 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566
วันที่ดำเนินการจริง : 26 กรกฎาคม 2566
สถานะการดำเนินงาน :

-ดำเนินการแล้ว-

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด :
รายละเอียดตัวชี้วัด แผน ผล หน่วยวัด สรุปผล
ผลผลิต (Output) : ได้ธุรกิจที่สามารถพัฒนาสู่การเป็นวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) อย่างน้อย 5 14 สถานประกอบการ
ผ่าน
ผลลัพธ์ (Outcome) : มหาวิทยาลัยมีการสร้างสภาพแวดล้อม (Ecosystem) ที่เป็นสังคมแห่งผู้ประกอบการ (Entrepreneurial University) จำนวน 1 1 ระบบ
ผ่าน
ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการโครงการ
ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนครั้งที่ดำเนินการ 1 2 ครั้ง
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 50 432 คน
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 85 86 ร้อยละ
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 85 33 ร้อยละ
ไม่ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 5 ค่าใช้จ่ายตลอดโครงการไม่เกิน 150,000 150,000 บาท
ผ่าน
ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ :

0.00%

ร้อยละความสำเร็จตามตัวชี้วัด :

85.71%   :   ดาวน์โหลด Certificate

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ :
ยุทธศาสตร์หลัก ตัวชี้วัดทั้งหมด Cluster Sub-Cluster
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พลิกโฉมการสอนสมัยใหม่ เพื่อสร้างนักปฏิบัติทักษะสูง นวัตกรและผู้ประกอบการ 1. จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมเป็นผู้ประกอบการ
(สำคัญ)
2. ร้อยละของจำนวนรางวัลสำหรับผู้ประกอบการใหม่ที่เป็นนักศึกษาหรือบัณฑิตที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
(strategy)
3. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบนิเวศน์ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ ตามจุดเน้น (Cluster) ของยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
(strategy)
4. ร้อยละของจำนวนนักศึกษา/บัณฑิตศึกษาที่เป็นผู้ประกอบการ
(strategy)
ภารกิจประจำ ภารกิจประจำ
อธิบายผลการดำเนินงาน : โครงการดำเนินการ จำนวน 2 กิจกรรม และ 2 ช่วงเวลา คือ กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฎิบัติการแนวทางการพัฒนาตนเองสู่การเป็นผู้ประกอบการใหม่ ดำเนินการเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2566 โดยมีเป้าหมาย 200 คน ผลคือ มีคนสนใจเป็นเป็นจำนวนมาก ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 303 คน ผลการดำเนินงานครั้งนี้พบว่า ภาพรวมทุกด้านอยู่ที่ร้อยละ 85 กิจกรรมที่ 2 การแข่งขันนำเสนอไอเดียธุรกิจสู่การเป็นผู้ประกอบการใหม่ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม เป้าหมาย 100 คน มีคนสนใจเข้าร่วมแข่งขันมากกว่าเป้าหมาย ซึ่งมี นักศึกษาและอาจารย์เข้าร่วมทั้ืงสิ้น 182 คน เกินเป้าหมายที่วางไว้ มีความพึงพอใจที่ร้อยละ 86.01 และมีการการเบิกจ่ายเงินไปเป็นตามระเบียนและดำเนินการตามกำหนดการที่วางไว้ ในภาพรวมเกิดต้นแบบธุรกิจใหม่ จำนวน 14 ต้นแบบ
ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี
ข้อเสนอแนะ : เนื่องจากมีนักศึกษา อาจารย์ ให้ความสนใจในโครงการ แต่เนื่องจากโครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดค่าใช้จ่ายและกิจกรรมส่งผลให้การดำเนินการเป็นไปอย่างเร่งด่วน แต่ได้รับผลการตอบรับที่ดี ดังนั้นเพื่อให้การเบาะพ่มนักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ จึงต้องมีการจัดโครงการต่อเนื่อง โดยเน้นที่กระบวนลักษณะ Boot Camp คัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่ระบบค่ายบ่มเพาะต่อไป
ภาพจดหมายข่าว :


(...........................................................)
อาจารย์ ดร.หทัยรัตน์ หอมไกรลาศ
ผู้รับผิดชอบโครงการ



ข้อมูล ณ 26 พฤศจิกายน 2567
แผนกงานแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร