รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร






รายละเอียดโครงการ


รหัสโครงการ : 67-5200-2-3-001-00
ชื่อโครงการ : โครงการชุมชนนวัตกรรมสำหรับนวัตกร
ผู้รับผิดชอบ : นายอภิชาต ราชคำ
จำนวนงบประมาณ : 220,000 บาท
ระยะเวลาตามแผน : 1 มกราคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2567
วันที่ดำเนินการจริง : 12 กุมภาพันธ์ 2567
สถานะการดำเนินงาน :

-ดำเนินการแล้ว-

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด :
รายละเอียดตัวชี้วัด แผน ผล หน่วยวัด สรุปผล
ผลผลิต (Output) : จำนวนนวัตกรที่ออกถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อสร้างชุมชนนวัตกรรมต้นแบบ จำนวนไม่ต่ำกว่า 6 10 คน
ผ่าน
ผลลัพธ์ (Outcome) : จำนวนชุมชนที่ออกถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อสร้างชุมชนนวัตกรรมต้นแบบ จำนวนไม่ต่ำกว่า 3 4 ชุมชน
ผ่าน
ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการโครงการ
ตัวชี้วัดที่ 1 จำนวนครั้งที่ดำเนินการ 4 5 ครั้ง
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 300 330 คน
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนนวัตกรที่ออกถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อสร้างชุมชนนวัตกรรมต้นแบบ จำนวนไม่ต่ำกว่า 6 10 คน
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 85 92 ร้อยละ
ผ่าน
ตัวชี้วัดที่ 5 ค่าใช้จ่ายตลอดโครงการไม่เกิน 220,000 217,264 บาท
ผ่าน
ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ :

84.86%

ร้อยละความสำเร็จตามตัวชี้วัด :

85.71%   :   ดาวน์โหลด Certificate

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ :
ยุทธศาสตร์หลัก ตัวชี้วัดทั้งหมด Cluster Sub-Cluster
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บูรณาการความร่วมมือกับพหุภาคี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 1. จำนวนลิขสิทธิ์
(strategy)
2. จำนวนชุมชนต้นแบบในด้านการสร้างหรือการใช้นวัตกรรม
(strategy)
3. คะแนนการประเมินตามเกณฑ์ EdPEx : Education Criteria for Performance Excellence
(strategy)
4. ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตามจุดเน้น (Cluster) ของมหาวิทยาลัย
(strategy)
5. จำนวนชุมชนที่ได้รับการถ่ายทอดในด้านการสร้างหรือการใช้นวัตกรรมจากชุมชนต้นแบบ หรือจากการบริการวิชาการ
(strategy)
6. จำนวนผลงานที่ได้รับการจดลิขสิทธิ์
(สำคัญ)
7. จำนวนนวัตกรที่ออกถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อสร้างชุมชนนวัตกรรมต้นแบบ จำนวนไม่ต่ำกว่า
(สำคัญ)
8. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมีชุมชนนวัตกรรม (Green Community ต้นแบบ) เพิ่ม
(สำคัญ)
9. คณะฯ มีผลงานด้านสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของคณะฯ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า
(สำคัญ)
10. มีนวัตกรรมต้นแบบที่ถูกสร้างโดยนวัตกร จำนวนไม่ต่ำกว่า
(สำคัญ)
11. จำนวนนักศึกษาได้รับการส่งเสริมให้เป็นนวัตกร
(สำคัญ)
12. ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำและประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี
(strategy)
13. คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมีชุมชนนวัตกรรม (Green Community ต้นแบบ) เพิ่ม
(สำคัญ)
14. ประชาชนในจังหวัดสกลนครและจังหวัดใกล้เคียงที่เข้ามาเรียนรู้ มีความพึงพอใจ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ
(สำคัญ)
Agriculture Technology เกษตรอินทรีย์
อธิบายผลการดำเนินงาน : กิจกรรมที่ 1 วันที่ 12 - 14 ก.พ. 67 คอท.มทร.อีสาน สกลนครจัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ชุมชน ภายใต้โครงการชุมชนนวัตกรรมสำหรับนวัตกร ณ ห้องประชุมค้ำคูณ 4 อาคารสำนักงานคณบดีคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาทักษะด้านการสร้างสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมสู่การเป็นนวัตกร การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง ก่อให้เกิดชุมชนนวัตกรรมต้นแบบ พร้อมกับการสร้างการเรียนรู้นอกห้องเรียน ก้าวสู่การเป็นนวัตกรที่ตอบแทนคุณแผ่นดิน ในการนี้ได้รับเกียรติจากท่าน รศ.ดร.โฆษิต ศรีภูธร อธิการบดีมหาวิทยาลัยแทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ พร้อมทั้งบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ชุมชนนวัตกรรม จิตอาสา 904” โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 150 คน ประกอบด้วย คณาจารย์ คณาจารย์จากวิทยาลัยกสิกรรมและป่าไม้ เเขวงจำปาสักสปป. ลาว นักเรียนจากโรงเรียนบ้านนาสีนวล นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสว่างแดนดิน ผู้นำชุมชนและประชาชนบ้านสร้างขุ่ย คณะผู้บริหารเทศบาลพรรณานิคม กำลังพลจากณฑลทหารบกที่ 29 โรงพยาบาลค่ายกฤษณ์สีวะรา และนักศึกษา คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี อนึ่งในการอบรมครั้งนี้ ได้รับความอนุเคราะห์วิทยากร (ด้าน IOT) ดร.อภิรักษ์ ทูลธรรม รอง ผอ.ฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศรีสงคราม เป็นวิทยากร อ.ภูมินทร์ ประกอบแสง และ ผศ.ดร.สัณหวัจน์ ทองแดง รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พร้อมคณะฯ เป็นวิทยากรด้าน EV โดยนักศึกษาทุน กสศ.รุ่นที่ 3 เป็นผู้ช่วยวิทยากรในการอบรมครั้งนี้ ซึ่งถือเป็นการพัฒนานวัตกรผ่านการจัดกิจกรรมอีกรูปแบบหนึ่ง
ปัญหาอุปสรรค : -
ข้อเสนอแนะ : -
ภาพจดหมายข่าว :


(...........................................................)
นายอภิชาต ราชคำ
ผู้รับผิดชอบโครงการ



ข้อมูล ณ 26 พฤศจิกายน 2567
แผนกงานแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร